ขั้นตอนการถ่ายทำ
1.Project Development
ผู้กำกับและ producer เป็นแกนหลัก คิด theme เรื่อง mood and tone (หา reference) หาทีมงาน คุยกับนายทุน
2. PRE-PRODUCTION
-หา location ทำstoryboard เขียนบท (1 หน้า 1นาที ) casting workshop นักแสดง test อุปกรณ์ ทำ script breakdown
ส่วนใหญ่บทซีนหนึ่งจะยาว 1 หน้า กับอีก 1/8Blogshot การถ่ายภาพนิ่ง ณ โลเกชั่นสถานที่ถ่ายทำจริง โดยอาจจะมีการวางให้ตัวแทนยืนประจำจุดต่างๆแทนนักแสดงจริง ในการ blogshot จะดูรวมไปถึงการ set ฉากว่าควรเปลี่ยนแปลงอะไรตรงไหน การเคลื่อนของกล้อง วัดแสง ความสะดวกในการถ่ายทำจริง (ห้องน้ำ+อาหาร) ติดต่อขอสถานที่
3. PRODUCTION
-หา location ทำstoryboard เขียนบท (1 หน้า 1นาที ) casting workshop นักแสดง test อุปกรณ์ ทำ script breakdown
ส่วนใหญ่บทซีนหนึ่งจะยาว 1 หน้า กับอีก 1/8Blogshot การถ่ายภาพนิ่ง ณ โลเกชั่นสถานที่ถ่ายทำจริง โดยอาจจะมีการวางให้ตัวแทนยืนประจำจุดต่างๆแทนนักแสดงจริง ในการ blogshot จะดูรวมไปถึงการ set ฉากว่าควรเปลี่ยนแปลงอะไรตรงไหน การเคลื่อนของกล้อง วัดแสง ความสะดวกในการถ่ายทำจริง (ห้องน้ำ+อาหาร) ติดต่อขอสถานที่
3. PRODUCTION
กฎของเมอร์ฟีส์ (Murphy’s Law) “Whatever can go wrong, will go wrong”
PUSH
force processing การทำให้ค่าความไวแสงเพิ่มขึ้น 1 stop คือจากเดิมฟิล์มที่เราใช้ถ่ายกันอยู่ที่ 16มม. ISO 50 Daylight เป็น ISO 100 เกิดจากการถ่ายในที่มืดเกินไป เหมือนกับเวลาล้างรูปจากฟิล์ม จากเดิม 10 นาที เป็น 13 นาที การล้างนานขึ้นทำให้แสงทำปฎิกิริยากับฟิล์มนานขึ้น
force processing การทำให้ค่าความไวแสงเพิ่มขึ้น 1 stop คือจากเดิมฟิล์มที่เราใช้ถ่ายกันอยู่ที่ 16มม. ISO 50 Daylight เป็น ISO 100 เกิดจากการถ่ายในที่มืดเกินไป เหมือนกับเวลาล้างรูปจากฟิล์ม จากเดิม 10 นาที เป็น 13 นาที การล้างนานขึ้นทำให้แสงทำปฎิกิริยากับฟิล์มนานขึ้น
วิธีแก้ปัญหา
1.ถ่ายใน studio
2.วัดแสงไว้ก่อน
3. ใช้ฟิล์ม ISO มากกว่า 50
4. รอให้แสงมาก่อน (วิธีดั้งเดิม)
2.วัดแสงไว้ก่อน
3. ใช้ฟิล์ม ISO มากกว่า 50
4. รอให้แสงมาก่อน (วิธีดั้งเดิม)
PULL
ทำเมื่อถ่ายมาสว่าง (over) เกินไป (ฟิล์ม 50 ปรับเป็น 25)
ทำให้ภาพมืดขึ้นEffect ต่อการทำ push และ pull มีผลต่อ sensitometry (contrast)ของฟิล์ม
ทำให้ภาพมืดขึ้นEffect ต่อการทำ push และ pull มีผลต่อ sensitometry (contrast)ของฟิล์ม
Ansel Adam
ให้ อ่านหนังสือของ Ansel Adam เป็นช่างภาพชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงด้านการถ่ายภาพขาว ดำ เขียนหนังสือ The Camera, The Negative The Print
ทีมงานในกองถ่ายภาพยนตร์ (พอสังเขป)
PRODUCER
ดูแลทุกอย่างตั้งแต่ pre production หาเงิน คุยกับนายทุน ดูแลเรื่องค่าใช้จ่ายตลอดการถ่ายทำ
ผู้จัดการงานสร้าง (production manager)
ผู้ประสานงานสร้าง (production co-ordinator)
ผู้ประสานงานกองถ่าย (unit runners)
ผู้จัดการสถานที่ถ่ายทำ (location manager)
ผู้ช่วยผู้จัดการสถานที่ถ่ายทำ (assistant location manager)
ผู้จัดการงานสร้าง (production manager)
ผู้ประสานงานสร้าง (production co-ordinator)
ผู้ประสานงานกองถ่าย (unit runners)
ผู้จัดการสถานที่ถ่ายทำ (location manager)
ผู้ช่วยผู้จัดการสถานที่ถ่ายทำ (assistant location manager)
Director of photography ผู้กำกับภาพ
Camera operator ตากล้อง ทำงานร่วมกับ ผู้ช่วยตากล้อง (assistant camera)
Focus puller ผู้ช่วยตากล้อง 1 ดูแลเรื่อง focus โดยวัดระยะห่างจากsubject ถึงกล้องโดยใช้ตลับเมตรหรือสมัยนี้ใช้อุปกรณ์เลเซอร์ เป็นงานที่ต้องระวังมากเพราะคุณไม่สามารถเห็นผลทันทีเหมือนกล้อง digital
clapper loader คนตีเสลด
Gaffer หัวหน้าฝ่ายไฟ เป็นมือซ้ายของตากล้อง มีผู้ช่วยเรียก best boy electrician คำนวณแอมแปร์ของไฟ ดูว่าในรถมีไฟกี่ k กี่แอมป์ ดูว่าตอนนี้ใช้ไฟกี่แอมป์ พอหรือเปล่า
Grip ดูแสงเงา
crane grip คนจัดเครน
Script Supervisor หรือ continuety จดความต่อเนื่อง เสื้อผ้า หน้า ผม
ช่างบันทึกเสียง sound recorrdist
คนถือไมค์บูม (boom operator)
clapper loader คนตีเสลด
Gaffer หัวหน้าฝ่ายไฟ เป็นมือซ้ายของตากล้อง มีผู้ช่วยเรียก best boy electrician คำนวณแอมแปร์ของไฟ ดูว่าในรถมีไฟกี่ k กี่แอมป์ ดูว่าตอนนี้ใช้ไฟกี่แอมป์ พอหรือเปล่า
Grip ดูแสงเงา
crane grip คนจัดเครน
Script Supervisor หรือ continuety จดความต่อเนื่อง เสื้อผ้า หน้า ผม
ช่างบันทึกเสียง sound recorrdist
คนถือไมค์บูม (boom operator)
ART
ผู้ออกแบบงานสร้าง (production designer) ดูแลภาพรวม
ผู้กำกับงานศิลป์ (art director) ออกแบบฉาก (วาดรูปขึ้นมาก่อน) เปลี่ยนแปลงตามที่ผกก ต้องการ เช่น สร้างห้องใหม่ ทาสี เอาพัดลมออก ใส่กริ่งประตู
ผู้จัดซื้อ (production buyer) ซื้อของตามที่ art director สั่ง
ผู้ดูแลของในกองถ่าย (property master)
ผู้กำกับงานศิลป์ (art director) ออกแบบฉาก (วาดรูปขึ้นมาก่อน) เปลี่ยนแปลงตามที่ผกก ต้องการ เช่น สร้างห้องใหม่ ทาสี เอาพัดลมออก ใส่กริ่งประตู
ผู้จัดซื้อ (production buyer) ซื้อของตามที่ art director สั่ง
ผู้ดูแลของในกองถ่าย (property master)
ผู้จัดการงานก่อสร้าง (construction manager)
ผู้ดูแลของประกอบฉาก (standby prop.)
ช่างทาสี (standby painter)
ช่างไม้ (standby carpenter)
ผู้ออกแบบเครื่องแต่งกาย (costume designer)
ผู้ช่วยผู้ออกแบบเครื่องแต่งกาย (assistant costume)
ช่างแต่งหน้า (make-up artist)
ผู้ช่วยช่างแต่งหน้า (make-up assistant)
คนขับรถ (unit driver)
ตากล้องภาพนิ่ง (stills)
ผู้ดูแลของประกอบฉาก (standby prop.)
ช่างทาสี (standby painter)
ช่างไม้ (standby carpenter)
ผู้ออกแบบเครื่องแต่งกาย (costume designer)
ผู้ช่วยผู้ออกแบบเครื่องแต่งกาย (assistant costume)
ช่างแต่งหน้า (make-up artist)
ผู้ช่วยช่างแต่งหน้า (make-up assistant)
คนขับรถ (unit driver)
ตากล้องภาพนิ่ง (stills)
ตัดต่อ (editor)
ผู้ช่วยตัดต่อ (assistant editor)
บัญชี (production account)
ผู้ช่วยบัญชี (assistant production account)
เลขานุการผู้อำนวยการสร้าง (producer secretary)
โฆษกประจำกอง
ผู้ประสานงานเทคนิคพิเศษ (special effect co-ordinator)
ผู้ช่วยผู้ประสานงานเทคนิคพิเศษ (assistant special effect co-ordinator)
ผู้ดูแลสัตว์
บัญชี (production account)
ผู้ช่วยบัญชี (assistant production account)
เลขานุการผู้อำนวยการสร้าง (producer secretary)
โฆษกประจำกอง
ผู้ประสานงานเทคนิคพิเศษ (special effect co-ordinator)
ผู้ช่วยผู้ประสานงานเทคนิคพิเศษ (assistant special effect co-ordinator)
ผู้ดูแลสัตว์
นักแสดง casting
ตัวประกอบ
ตัวแทนนักแสดง (stand-in)
ผู้ประสานงานฉากเสี่ยงตาย (stunt co-ordinator)
ตัวแสดงฉากเสี่ยงตาย
body double แทนบางส่วน เช่น แทนมือ แทนขา
ตัวแทนนักแสดง (stand-in)
ผู้ประสานงานฉากเสี่ยงตาย (stunt co-ordinator)
ตัวแสดงฉากเสี่ยงตาย
body double แทนบางส่วน เช่น แทนมือ แทนขา
4. POST PRODUCTION
Telecine
television + cinema การเปลี่ยนสัญญาณจากฟิล์มเป็นสัญญาณภาพโทรทัศน์ สามารถนำลงformat ต่างๆได้ตามเลือกเช่น เทปdv หรือ dvd เปรียบเทียบง่ายๆเหมือนถ่ายภาพจากกล้องฟิล์มแล้วเอามาสแกนลงคอมพ์เป็นรูป format jpg เป็นต้น
วิธีก็คือ เอาฟิล์มผ่านหัวยิงแสง มีจอรับภาพ(ccd) แล้วเอาสัญญาณที่เป็น vdo (แม่เหล็กไฟฟ้า) มาปรับสี แสง เปลี่ยน frame แล้วบันทึกเทป
เราไปทำ telescene กันที่ Oriental Post กันตนา เอาฟิล์มไปให้colorist หรือ telescenist (ผู้แต่งสี) ปรับโทนสี (ขาว-ดำ) ปรับ brightness หรือ contrast อาจมี reference ภาพจากเน็ทมาให้ดูว่าอยากได้แบบไหน ใช้เวลากลุ่มละประมาณ20 – 30 นาที อัตราราคานศ.ลด 50% คือชมละ 7500 ใช้เวลา 2 ชม.เสร็จ !
ASPECT RATIO อัตราส่วนลักษณะความกว้างยาวของภาพ
ฟิล์ม 16มมที่ใช้ถ่ายกัน = 4x3 (1.33) เป็นอัตราส่วนที่ได้รับการยอมรับ เรียกว่า Academy Standard หรือ Academy Format เท่ากับจอทีวีปกติ
จอ widescreen = 1.85 (ยุโรป 1.66) เรียก Academy Flat
LETTERBOX (จอยาวๆเช่นหนัง epic) การแสดงภาพจอกว้างบนจอปกติ จะบังส่วนบนกับส่วนล่างด้วยแถบดำ เพื่อให้ส่วนที่เห็นมีอัตราส่วนลักษณะแบบจอกว้าง
Cinematoscope = 2.35
SOUND
Sound effect
เสียงประกอบที่ไม่เหมือนจริง เช่น เสียงดาบฟันกันใน star wars
เสียง foley
เสียง ที่ควรจะมีอยู่ในฉากต่างๆ ที่เป็นเสียงจริงแต่ไปใส่ภายหลัง เช่น เสียงคนเดิน เสียงฝนตกส่วนมากเสียงที่อยู่ในหนังจะนำมาทำใหม่ทั้งหมด เช่นฝนตก อาจนำเม็ดกรวดมาเทลงบนสังกะสี
-ในหนัง apocalypse now มีฉากที่พัดลมหมุนติ้วๆอยู่ ฉากนั้นเอาเสียงใบพัดของ ฮอ มาใส่ สื่อความหมายถึงสงคราม
-เวลาไปอัดอาจใช้กล้องdv ไปอัดเพราะมันเป็น stereo อยู่แล้ว คือมี 2channel หรือดีกว่านั้นใช้ mic boom ของคณะ (shortgun)
Ambience
คือ เสียงบรรยากาศในสถานที่ต่าง ๆ เช่นในป่าตอนกลางคืนก็จะต้องมีเสียงจิ้งหรีดเรไร หรือเสียงความวุ่นวายของสภาพการจราจรในเมือง หรือเสียงของกลุ่ม ในงานเลี้ยง,งานแต่งงาน,ภัตตาคาร,ร้านอาหาร ก็จะมีเสียงต่างกัน หรือเสียงสภาพบรรยากาศของห้อง แต่ละห้องก็จะไม่เหมือนกัน
Final Mix
คือ ขั้นตอนการผสมเสียงที่มีทั้งหมดเข้าด้วยกันทั้ง Dialog,Effect และ Music ให้กลมกลืนเข้ากับภาพมากที่สุด หรือเราเรียกว่าการ Balance เสียง ผู้ที่ทำหน้าที่นี้ก็คือ Re-Recording Mixer ที่จะทำการ Balance ตามความต้องการของผู้กำกับ ลงในระบบเสียงต่างๆซึ่งมีดังนี้
ระบบ Mono
คือเสียงจะถูกผสมรวมกันเหลือเพียงเส้นเดียว แล้วผ่านลำโพงไปออกตรงกลางจอ ซึ่งเป็นระบบที่ใช้กันมากในภาพยนตร์สมัยก่อน
ระบบ Stereo
คือเสียงจะถูกผสมรวมกันเหลือ 2 เส้น แล้วผ่านออกลำโพงทางซ้ายและทางขวา จะให้ความรู้สึกถึงความกว้างของเสียงมากกว่าระบบแรก
ระบบ Four Channel Mix
คือ เสียงจะถูกผสมรวมกันเหลือ 4 ช่องทางคือ ซ้าย,กลาง,ขวา และ เซอร์ราวน์ ก็จะทำให้คน ดูรู้สึกสมจริงขึ้นมาอีกขั้นหนึ่ง ระบบที่นิยมก็คือ Dolby Stereo หรือ Ultra Stereo
ระบบ 5.1 Channel Mix
เป็นระบบที่ใช้กันมากในปัจจุบัน คือทั้งหมดจะถูกผสมรวมกันเหลือ 6 ช่องทางเป็น ซ้าย, กลาง,ขวา,เซอร์ราวน์ซ้าย,เซอร์ราวน์ขวา และ ซัพวูฟเฟอร์ ระบบนี้ก็จะเอื้อประโยชน์ต่อการผสมเสียงในการใช้ทิศทางได้มากขึ้น ระบบที่นิยมก็มีทั้ง Dolby Digital SR.D และ DTS ( .1 ก็หมายถึงซัพวูฟเฟอร์นั่นเอง )
Final Cut
ภาพยนตร์ที่ใส่เสียงตัดต่อเสร็จเรียบร้อยแล้ว (เรียก picture log) ยกเว้นใส่ sound score
ADR
Auto Dialogue Replacement – การพากษ์เสียงทับบทสนทนาด้วยตัวนักแสดงเอง ต่างจากการทำ dumbling คือไม่ต้องนำนักแสดงคนเดิมมาพากษ์ เช่นในหนังไทยสมัยก่อน
ตัดต่อ
capture ภาพที่ได้มาใส่เครื่องคอมพ์เป็น take แบ่ง takeให้เรียบร้อย ถ้ามีsoundต้องซิงค์เสียงคือให้ภาพกับเสียงตรงกันเพราะเวลาอัดแยกกันมา เครื่องมือในการจับซิงค์คือไม้เสลดแล้วฟังเสียงว่าอันไหน takeเดียวกัน เฟรมแรกของภาพคือตอนที่เสลดชน
-อย่าตัดต่อเสร็จเป็น scene ควรทำ assembly (การเอาภาพที่มีทั้งหมด เลือก take ที่ชอบ ตัดต่อตาม sceneที่ออกแบบไว้ เรื่องดำเนินยังไง) จะเห็นภาพรวมของหนังแล้วทำ rough cutในหนังควรลืมเรื่อง productionไปเลยไม่ต้องเสียดายว่าฉากนี้ถ่ายมายากขนาดไหนถ้าจำเป็นต้องตัด ออกก็ตัด ! ตัดเสร็จเรียบร้อยเรียก fine cut
เรื่องในเชิงเทคนิค
-จาก นั้นเอาภาพที่ตัดแล้วไปพิมพ์ film โดยเอาภาพที่ตัดแล้วในcompไปเทียบเพื่อตัด negative ตามที่ตัดใน vdo จากนั้นได้หนังที่เป็น negative ตั้งแต่ภาพแรกจนถึงภาพสุดท้าย แล้วเอา negative ไปปรินท์เป็น positive อีกทีจึงจะฉายได้
- IP (inter positive) เอา positive มาพิมพ์
- IN (Inter Negative) เอา negative ที่ตัดแล้วมาพิมพ์เป็น positive
-ข้อมูลเสียงทั้งหมดถูกพิมพ์อยู่บนฟิล์ม นอกจากนี้ยังมีสัญญาณ optical sound
ฟิล์ม 35มม ต้องมีเสียงเป็น stereo อยู่แล้วเป็น optic
- workprint = ปรับสี (RGB)
-Release Print = งานที่เสร็จพร้อมฉาย พิมพ์มาพร้อม optical track เพื่อใส่เครื่องฉายหนัง
5. Distribution
การ จัดจำหน่ายทำได้หลายทางเช่น ขายกับสายหนัง ขายต่างประเทศ ถ้าได้รางวัลคานส์(หรือ berlin venice) มายิ่งเป็นที่รู้จัก ทำเป็น vcd ,dvd ส่งประกวดตามมูลนิธิหนังไทย หรือไม่ก็upload เข้า youtube
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น